FAQ, โพรไบโอติก

โพรไบโอติก (Probiotic) คืออะไรและสำคัญต่อร่างกายอย่างไร

%e0%b9%82%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b9%84%e0%b8%9a%e0%b9%82%e0%b8%ad%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%81-what-is-probiotic

โพรไบโอติก (Probiotic) 

จุลินทรีย์ที่สำคัญต่อร่างกาย

ในร่างกายของเรานั้นมีจุลินทรีย์อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก โดยมีทั้งจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ จุลินทรีย์ที่ไม่ก่อประโยชน์และโทษ และจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย

Q : จุลินทรีย์อยู่ที่ไหนในร่างกายบ้าง?

A : เราสามารถพบจุลินทรีย์ในระบบต่างๆของร่างกายดังต่อไปนี้

สามารถพบจุลินทรีย์ได้ที่ใดบ้างในร่างกาย

• ช่องปาก

• ลำคอ

• ผิวหนัง

• ระบบสืบพันธุ์

• ลำไส้ (โดยมีปริมาณมากที่สุด)

Q : จุลินทรีย์ในร่างกายมาจากไหน?

จุลินทรีย์ในร่างกายมาจากไหน?

A : เมื่อเราอยู่ในครรภ์มารดา ร่างกายของเราจะอยู่ในสภาพเกือบไร้จุลินทรีย์ มนุษย์จะได้รับจุลินทรีย์เมื่อเราคลอดผ่านช่องคลอด ทารกจะกลืนจุลินทรีย์ในช่องคลอดของมารดาไปอยู่ในลำไส้ รวมถึงจุลินทรีย์จะเกาะติดตามผิวหนังทารก

โดยหลังคลอด 2 ชั่วโมง ร่างกายจะมีจุลินทรีย์ถึง 10,000 ล้านตัว หลังจากนั้นจะได้รับจุลินทรีย์โดยการสัมผัส จากการหายใจและการรับประทานเข้าไป

Q : หากเกิดความไม่สมดุลของจุลินทรีย์ในลำไส้ จะส่งผลเสียอย่างไร?

A : หากเกิดความผิดปกติในร่างกาย อาจส่งผลต่อสมดุลของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในทางเดินอาหาร โดยจะส่งผลเสียต่อระบบต่างๆในร่างกาย ดังนี้

ความไม่สมดุลของจุลินทรีย์ในลำไส้

• Digestive : ท้องผูก ท้องเสีย ลำไส้แปรปรวน กระเพาะอักเสบ ภาวะลำไส้รั่ว

• Immune : ภูมิคุ้มกันไม่ดี ติดเชื้อบ่อย อ่อนเพลียเรื้อรัง ภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ตัวเอง(SLE) เป็นหวัดบ่อย ตกขาว

• Skin : สิว/สิวแพ้อักเสบ สะเก็ดเงิน

• Brain : ซึมเศร้า วิตกกังวลง่าย

ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์มากมายในท้องตลาดเกี่ยวกับการรักษาสมดุลของจุลินทรีย์ในร่างกาย โดยคำคุ้นหูที่ถูกกล่าวถึงบ่อยครั้งคือ “โพรไบโอติก”และ“พรีไบโอติก” เราจะมาทำความรู้จักกันว่าทั้งสองคำนี้มีความหมายถึงอะไรและแตกต่างกันอย่างไร

Q : โพรไบโอติก (Probiotic) และ พรีไบโอติก (Prebiotic) ต่างกันอย่างไร?

A : โพรไบโอติก เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็ก ซึ่งจัดเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดดี สามารถพบได้ในอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต กิมจิ มิโส เป็นต้น ผู้เชี่ยวชาญด้านทางเดินอาหารให้คำจำกัดความว่า โพรไบโอติก คือ จุลินทรีย์ที่มีชีวิต เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะทำให้สุขภาพดีในภาวะต่างๆ

พรีไบโอติก และ โพรไบโอติก

โดยเป็นจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติทนต่อกรดและด่าง สามารถจับที่บริเวณผิวของเยื่อบุลำไส้แล้วผลิตสารต่อต้านหรือกำจัดเชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ รวมถึงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพได้

ส่วนพรีไบโอติก คือ อาหารชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งร่างกายไม่สามารถย่อยและดูดซึมได้ที่ลำไส้เล็ก อาหารเหล่านี้จึงสามารถเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ได้ในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง และจะถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรียโพรไบโอติก

ทำให้กระตุ้นการเจริญเติบโตและการทำงานของแบคทีเรีย พบได้ในหัวหอม กระเทียม ถั่วเหลือง ถั่วแดง ไฟเบอร์ในผักและผลไม้ต่างๆ กล่าวง่ายๆก็คือ พรีไบโอติกเป็นอาหารของโพรไบโอติกนั่นเอง

ดังนั้นหากรับประทานอาหารพวกพรีไบโอติกก็จะช่วยส่งเสริมฤทธิ์โพรไบโอติกได้ดียิ่งขึ้น

Q : โพรไบโอติก พบได้ที่ไหนบ้าง?

โพรไบโอติก พบได้ที่ไหนบ้าง

A : อาหารที่ผ่านกระบวนการบ่มหมัก เช่น ชีส โยเกิร์ต นมเปรี้ยว ผักดอง ของหมักดองต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดจุลินทรีย์ชนิดต่างๆขึ้นได้ ไม่ว่าจะเป็น Lactococcus,Bifidobacterium Saccharomyces เป็นต้น

Q : บทบาทของโพรไบโอติกต่อร่างกายมีอะไรบ้าง?

A : โพรไบโอติกมีบทบาทสำคัญต่อร่างกาย ดังนี้

ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

ช่วยให้เม็ดเลือดขาวทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ช่วยสร้างวิตามิน B และ K

บทบาทของโพรไบโอติกต่อร่างกาย

• ช่วยย่อยอาหารบางชนิดที่กระเพาะและลำไส้ย่อยไม่ได้

ช่วยทำให้ลำไส้ทำงานได้ดีขึ้น บีบตัวดีขึ้น ย่อยง่าย ขับถ่ายคล่อง

Q : ปัจจัยที่ทำลายโพรไบโอติกและวิธีเพิ่มโพรไบโอติกให้ร่างกาย

A : มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลให้เกิดการทำลายจุลินทรีย์ในลำไส้ได้ อันได้แก่

บุหรี่

ยาปฏิชีวนะ

พักผ่อนไม่เพียงพอ

ขาดการออกกำลังกาย

10 ปัจจัยที่ทำลายจุลินทรีย์ในลำไส้

แป้ง น้ำตาล

คาเฟอีน

อาหารขยะ

แอลกอฮอล์

ภาวะเครียด

หากต้องการจะเพิ่มโพรไบโอติกให้กับร่างกาย ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังต่อไปนี้

วิธีเพิ่มโพรไบโอติกให้ร่างกาย

1.ปรับการทานอาหาร ลดน้ำตาลลดแป้ง เพิ่มอาหารที่มีกากใย เลี่ยงอาหารแปรรูป เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์

2.ปรับ lifestyle เช่น การออกกำลังกาย นอนให้เป็นเวลา งดสูบบุหรี่ เป็นต้น

3.ทานยาฆ่าเชื้อหรือยาแก้อักเสบเท่าที่จำเป็น

4.ทานอาหารที่มีโพรไบโอติกสูงหรือทานอาหารเสริมที่มีโพรไบโอติก เช่น ไฟโตวี่ โพรไบโอติก (Phytovy Probiotic)

Q&A คำถามยอดฮิต Phytovy Probiotic

1.วิธีการเก็บผลิตภัณฑ์ไฟโตวี่ โพรไบโติกและข้อควรระวัง

● ควรเก็บในอุณหภูมิห้อง ไม่ต้องแช่ตู้เย็น แต่ต้องไม่เก็บหรือวางใกล้แหล่งความร้อน เช่น เก็บในรถยนต์ หลีกเลี่ยงอุณภูมิร้อนจัด

2.เมื่อเริ่มรับประทานไฟโตวี่ โพรไบโอติก จะเกิดผลข้างเคียงอย่างไรบ้าง?

ไฟโตวี่โพรไบโอติก มีปริมาณจุลินทรีย์มากกว่านมเปรี้ยวตามท้องตลาด

● เมื่อเริ่มรับประทาน 1-7 วัน อาจจะมีลมในท้อง เรอบ่อย ผายลม ท้องผูกหรือท้องเสีย โดยอาการเหล่านี้เป็นผลมาจากการพยายามปรับสมดุลของระบบลำไส้เมื่อได้รับจุลินทรีย์ที่ดี และจะหายไปภายในเวลาไม่กี่วันเมื่อรับประทานไฟโตวี่ โพรไบโอติกอย่างต่อเนื่อง

3.คนที่รับประทานเจ หรือมังสวิรัติ สามารถรับประทาน Phytovy Probiotic ได้หรือไม่?

● สามารถรับประทานได้

4.คนที่แพ้แลคโตสในนม ไม่สามารถย่อยแลคโตสได้ สามารถรับประทานไฟโตวี่ โพรไบโอติกได้หรือไม่?

อาหารเสริมปรับสมดุลลำไส้ เพิ่มภูมิคุ้มกัน Phytovy Probiotic

● สามารถทานได้ เพราะไฟโตวี่ โพรไบติกสามารถผลิตน้ำย่อยเพื่อช่วยย่อยน้ำตาลแลคโตสในนมได้ จึงทำให้มีน้ำตาลแลคโตสเหลือน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย

5.จุดเด่นของไฟโตวี่โพรไบโอติก

● เป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่มดูแลลำไส้ โดยไฟโตวี่ โพรไบโอติกมีประโยชน์ ได้แก่

✓เพิ่มจุลินทรีย์ชนิดดี

✓ปรับสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้

✓เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน

✓เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับผนังลำไส้

ไฟโตวี่โพรไบโอติก Phytovy Probiotic Nutrinal Successmore

✓ลดภาวะลำไส้แปรปรวน ท้องผูก/ท้องเสีย

✓ช่วยการทำงานของลำไส้ในการดูดซึมวิตามิน

✓ปรับสมดุลด้านอารมณ์ ลดความเครียด

✓ช่วยให้ผิวพรรณดีขึ้น ลดการเกิดสิว

✓ป้องกันโรคภูมิแพ้

✓เพิ่มระบบการเผาพลาญให้ดีขึ้น

โพรไบโอติก และ พรีไบโอติก กลายเป็น โพสไบโอติก

● มีส่วนประกอบ (Ingredients) คือ จุลินทรีย์สายพันธุ์ดี (โพรไบโอติก) 10 สายพันธุ์ 20,000 ล้านตัว + อินนูลิน (Prebiotic) 2,000 mg. = Postbiotic

**โพสไบโอติก คือ ผลพลอยได้จากการหมักจุลินทรีย์โพรไบโอติกและพรีไบโอติก เช่น เอนไซม์ (Enzyme) กรดไขมันสายสั้น รวมถึง Acetic , Lactic acid ช่วยเสริมระบบภูมิคุ้มกัน มีผลต่อสุขภาพทางเดินอาหารในระยะยาว**

เทคโนโลยี 5-Layers Micro-Encapsulation Protection

● ใช้เทคโนโลยี 5-Layers Micro-Encapsulation Protection โดยเป็นเทคโนโลยีเคลือบจุลินทรีย์ 5 ชั้น ที่เพิ่มเกราะป้องกันในการนำส่งจุลินทรีย์ให้ไปถึงเป้าหมาย มีความสามารถในการอยู่รอดสูง ช่วยให้ยึดเกาะกับผนังลำไส้ได้ดี ไม่ถูกดีท็อกซ์ไปกับการขับถ่าย

● การรับประทาน : ทานตอนท้องว่างก่อนมื้อเช้าหรือบ่าย วันละ 1 ซอง โดยเทกรอกปาก เคี้ยวก่อนกลืนแล้วดื่มน้ำตาม

วิธีทานไฟโตวี่โพรไบโอติก

ดูรายละเอียดสินค้าเพิ่มเติม » click เลย!! «

ปรับสมดุลลำไส้ เพิ่มจุลินทรีย์ดี ด้วยไฟโตวี่ โพรไบโอติก Phytovy Probiotic.

บทความที่น่าสนใจ

error: do not copy content!!